บริการตรวจสอบอาคาร (Building Inspections)
บริษัท แอซเซ็ท เพอฟอร์แมนซ์ โซลูชั่น จำกัด ได้ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมนิติบุคคล เลขที่ 315/2549 และผู้ตรวจสอบอาคารปร...
งานตรวจสอบและทดสอบระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
การตรวจสอบ และบำรุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
บริการตรวจสอบโดยทีมงานวิศวกรมืออาชีพ ใช้เครื่องมือในการตรวจสอบที่ถูกต้องแม่นยำ
เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบและบำรุงรักษาระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้

ขอบเขตในการการตรวจสอบ ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้
1 | อุปกรณ์ควบคุม | |
(ก) การทำงาน | การทำงานทุกอย่างของระบบ รวมทั้งของสัญญาณแจ้งเหตุ | |
และสัญญาณขัดข้อง ต้องทดสอบตามคำแนะนำของผู้ผลิต | ||
(ข) บริภัณฑ์เชื่อมต่อสัญญาณ | ทดสอบการทำงานของวงจรเชื่อมต่อสัญญาณกับระบบอื่น ๆ | |
ว่าทำงานได้ดีถูกต้อง | ||
(ค) หลอดไฟ หรือหลอด LED | หลอดไฟ หรือหลอด LED ต้องทดสอบว่าใช้งานได้ | |
(ง) แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก | แหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก ต้องทดสอบการทำงาน | |
ของอุปกรณ์แจ้งเหตุเช่น กระดิ่ง ทำงานทุกตัว | ||
อย่างต่อเนื่องได้ โดยปราศจากแหล่งจ่ายไฟฟ้าสำรอง | ||
2 | เครื่องกำเนิดไฟฟ้า และ/หรือ UPS | กรณีที่ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ ออกแบบให้รับกำลังไฟฟ้าจากเครื่องกำเนิด |
ไฟฟ้าและ/หรือ UPS ต้องทดสอบการทำงานของเครื่องกำเนิดไฟฟ้า | ||
และ/หรือ UPS ด้วยว่า สามารถจ่ายกำลังไฟฟ้าได้ปกติ | ||
3 | แหล่งจ่ายไฟฟ้าสำรอง | ตรวจสอบโดยการปลดแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลัก เพื่อตรวจสอบไฟจากแบตเตอรี่ |
ให้มีความสามารถจ่ายไฟให้ระบบในสภาวะแจ้งเหตุ ได้อย่างน้อย 15 นาที | ||
เมื่อตรวจสอบแล้ว ให้ต่อแหล่งจ่ายไฟฟ้าหลักกลับคืนสู่สภาวะปกติ | ||
4 | แบตเตอรี่-การทดสอบทั่วไป | |
(ก) การตรวจด้วยสายตา | ตรวจหารอยรั่ว, ระดับน้ำกลั่น และความแน่นของขั้วแบตเตอรี่ พร้อมทั้ง | |
ทำความสะอาดขั้วแบตเตอรี่ด้วย | ||
(ข) การเปลี่ยนแบตเตอรี่ | เปลี่ยนแบตเตอรี่ตามระยะเวลาที่กำหนดโดยผู้ผลิต หรือเปลี่ยน เมื่อไม่ | |
สามารถประจุไฟฟ้าให้แบตเตอรี่มีแรงดันตามข้อกำหนดของผู้ผลิตได้ | ||
(ค) การทดสอบเครื่องประจุแบตเตอรี่ | ตรวจสอบการทำงานและพิกัดของเครื่องประจุแบตเตอรี่ | |
(ง) การทดสอบการคายประจุของ | ปลดเครื่องประจุแบตเตอรี่แล้วตรวจสภาพการคายประจุของแบตเตอรี่ตามข้อ | |
แบตเตอรี่ | กำหนดของผู้ผลิต วัดแรงดันที่ขั้วแบตเตอรี่ ต้องไม่ต่ำกว่าที่ระบุไว้ในข้อกำหนด | |
ของผู้ผลิต (การคายประจุอาจต่อตัวต้านทานคร่อมขั้วแบตเตอรี่ เพื่อให้เกิด | ||
กระแสไฟฟ้าเท่ากับการทำงานสูงสุดของระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้) | ||
(จ) การทดสอบแรงดันเมื่อระบบ | ปลดเครื่องประจุแบตเตอรี่ และตรวจสอบแรงดันระหว่างขั้วแบตเตอรี่ เมื่อ | |
แจ้งเหตุเพลิงไหม้ทำงานเต็มที่ | ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ทำงานเต็มที่แรงดันต้องไม่ต่ำกว่าข้อกำหนดของผู้ผลิต | |
(ขณะมีโหลด) | ||
(ฉ) แรงดันของแบตเตอรี่เมื่อไม่มีโหลด | ปลดเครื่องประจุแบตเตอรี่ แรงดันต้องไม่ต่ำกว่าข้อกำหนดของผู้ผลิต | |
|
|
|
5 | การตรวจสอบวงจรป้องกันฟ้าผ่า | อุปกรณ์วงจรป้องกันฟ้าผ่า ต้องมีการตรวจสอบตามข้อกำหนดของผู้ผลิต |
หรือปีละ2 ครั้ง และต้องตวจสอบเพิ่มเติมหลังเกิดฟ้าผ่า | ||
6 | สัญญาณขัดข้องต่าง ๆ บนแผงควบคุม | |
(ก) สัญญาณเสียง และแสง | ตรวจสอบการทำงานของสัญญาณขัดข้อง และสัญญาณปรับตั้งใหม่ (Reset) | |
(Audibie & Visual) | กรณีสวิตช์เงียบเสียงเป็นแบบกดค้าง ต้องคืนสภาพปกติเมื่อแก้ไขเหตุขัดข้อง | |
ของระบบแล้ว | ||
(ข) วงจรมอนิเตอร์การรั่วลงดิน | กรณีแผงควบคุมมีสวิตช์ตัดสัญญาณอุปกรณ์ตรวจจับ ต้องตรวจสวิตช์ตัด | |
(Disconnect Switch) | สัญญาณว่าอยู่ในสถานะที่ถูกต้องหรือไม่ หรือให้ตรวจสอบสัญญาณขัดข้อง | |
อันเนื่องจากสวิตช์ตัดสัญญาณอยู่ผิดสถานะ | ||
(ค) วงจรมอนิเตอร์การรั่วลงดิน | เมื่อระบบมีวงจรมอนิเตอร์รั่วลงดิน ตรวจสอบการทำงานของวงจรโดยต้อง | |
(Ground Fault Monitoring Circuit) | แสดงสัญญาณขัดข้องเมื่อสายไฟฟ้าใด ๆ ในระบบรั่วลงดิน | |
(ง) การส่งสัญญาณต่าง ๆ ออกนอกพื้นที่ | ทดสอบการทำงานของอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ แล้วตรวจสอบการรับสัญญาณ | |
(Transmission of Signal Off | ต่าง ๆที่ส่งออกนอกพื้นที่ | |
Premise Location) | ตรวจสอบการรับสัญญาณเหตุขัดข้องที่ส่งออกนอกพื้นที่ | |
ตรวจสอบการรับสัญญาณ ตรวจคุมที่ส่งออกนอกพื้นที่ | ||
|
|
|
7 | แผงแสดงผลระยะไกล | ทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ในระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ |
และตรวจสอบการรายงานผลที่แสดงที่แผงแสดงผลเพลิงไหม้รวมทั้ง | ||
สัญญาณขัดข้องต่าง ๆถ้ามี | ||
8 | ตัวนำ / โลหะ | |
(ก) การลัดวงจรดิน | ตัวนำไฟฟ้าทั้งหมดในระบบต้องตรวจสอบว่าไม่รั่วลงดิน วิธีการทดสอบให้ | |
เป็นไปตามที่ผู้ผลิตแนะนำ ยกเว้นไม่ต้องตรวจสอบสายดิน | ||
(ข) การลัดวงจร | ตัวนำไฟฟ้าทั้งหมดในระบบต้องตรวจสอบว่าไม่มีการลัดวงจร ระหว่าง | |
สาย-สาย และสาย-ดิน วิธีการทดสอบให้เป็นไปตามที่ผู้ผลิตแนะนำ | ||
(ค) ความต้านทานวงจร | วัดความต้านทานวงจร ของอุปกรณ์วงจรเริ่มสัญญาณ และวงจรแจ้งเหตุ | |
(Loop Resistance) | ต้องมีค่าไม่เกินที่ผู้ผลิตกำหนดไว้ | |
9 | ตัวนำ / อโลหะ | |
(ก) ความพร้อมของวงจร | ตรวจสอบอุปกรณ์เริ่มสัญญาณ อุปกรณ์แจ้งเหตุ และวงจรแจ้งเหตุ ว่ามี | |
การเชื่อมต่อสายอย่างถูกต้อง | ||
(ข) สายใยแก้ว | สายใยแก้วต้องทดสอบตามผู้ผลิตแนะนำ หรือใช้มิเตอร์วัดกำลังแสง วัดความ | |
(Fiber Optic) | สูญเสียในสาย ค่าที่วัดได้ของใยแก้วทุกเส้นต้องบันทึกไว้ที่แผงควบคุม ในการ | |
วัดครั้งต่อไป ถ้ากำลังสูญเสียมากกว่า ร้อยละ 2 จากค่าที่เคยบันทึกไว้ครั้ง | ||
แรกต้องทำการแก้ไขให้กลับคืนสู้สภาพโดยช่างผู้ชำนาญ | ||
(ค) การตรวจคุม | เมื่อทดลองเปิดวงจรตรวจคุม ต้องมีการแสดงสัญญาณขัดข้องเกิดขึ้นที่แผง | |
การทดลองเปิดวงจรแต่ละครั้งต้องไม่น้อยกว่าร้อยละ 10 ของอุปกรณ์เริ่ม | ||
สัญญาณอุปกรณ์แจ้งเหตุ หรืออุปกรณ์สายสัญญาณ | ||
10 | อุปกรณ์เริ่มสัญญาณ | |
(ก) อุปกรณ์เริ่มสัญญาณทางกล | ถอดตัวเชื่อมหลอมละลายออก และทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง | |
และไฟฟ้า | หล่อลื่นชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว ทุกชิ้นตามความจำเป็น | |
1.ตัวเชื่อมแบบไม่คืนสภาพ | ถอดตัวเชื่อมหลอมละลายออก และทดสอบการทำงานของอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง | |
2.ตัวเชื่อมแบบคืนสภาพ | หล่อลื่นชิ้นส่วนที่เคลื่อนไหว ทุกชิ้นตามความจำเป็น | |
หมายเหตุ โดยทั่วไปอุปกรณ์ตรวจจับแบบตัวเชื่อมหลอมละลายใชสำหรับ | ||
ปิดประตูทนไฟ ลิ้น (Damper) | ||
(ข) สวิตช์สัญญาณแจ้งเหตุระดับเพลิง | ทดสอบการทำงานของสวิตช์โดยทางไฟฟ้าหรือทางกลว่า สามารถส่ง | |
สัญญาณไปที่แผงควบคุมได้ | ||
(ค) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวไฟจากก๊าซ | ทดสอบความถูกต้องในการทำงานของอุปกรณ์ตรวจจับเปลิวไฟจากก๊าซ | |
ตามคำแนะนำของผู้ผลิต | ||
(ง) อุปกรณ์ตรวจจับความร้อน | ||
1.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนแบบ | ทดสอบอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนด้วยอุปกรณ์ให้ความร้อนตามคำแนะนำของ | |
อุณหภูมิ คงที่ และ/หรือแบบ | ผู้ผลิต และอุปกรณ์ตรวจจับต้องทำงานภายใน 1 นาที การทดสอบต้องระวัง | |
อัตราเพิ่มอุณหภูมิ ที่เป็นชนิดเส้น | การเกิดความเสียหายกับตัวตรวจจับความร้อนแบบไม่คืนสภาพ | |
หรือชนิดจุดแบบคืนสภาพ | ||
2.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนแบบ | ห้ามทดสอบโดยใช้ความร้อน ให้ทดสอบการทำงานโดยทางกลและไฟฟ้า | |
อุณหภูมิคงที่ ที่เป็นชนิดเส้นแบบ | โดยวัดและบันทึกค่าความต้านทานวงจร และเปรียบเทียบกับค่าที่ยอมรับได้ | |
ไม่คืนสภาพ | ||
3.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนแบบ | ภายหลังการใช้งานนาน 15 ปี ให้เปลี่ยนใหม่ทั้งหมด หรือนำตัวอย่างไม่น้อย | |
อุณหภูมิคงที่ชนิดจุดแบบไม่คืน | กว่าร้อยละ 2 ทดสอบในห้องปฏิบัติการ ถ้าตัวใดตัวหนึ่งไม่ผ่านการทดสอบนำ | |
สภาพ | ตัวอย่างใหม่อีกร้อยละ 2 ตัว มาทำการทดสอบอีก และหากไม่ผ่านการทดสอบ | |
ให้เปลี่ยนอุปกรณ์ตรวจจับความร้อนทั้งหมด อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนที่นำไป | ||
ทำการทดสอบแล้วห้ามนำกลับมาใช้อีก | ||
4.อุปกรณ์ตรวจจับความร้อนทั่วไป | ห้ามทดสอบโดยใช้ความร้อน ให้ใช้การทดสอบการทำงานโดยทางกลและไฟฟ้า | |
แบบไม่คืนสภาพทั่วไป | ||
(จ) อุปกรณ์แจ้งเหตุด้วยมือ | ทดสอบการทำงานตามคำแนะนำของผู้ผลิต | |
(ฉ) อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง | อุปกรณ์ตรวจจับเปลวเพลิง ทดสอบตามคำแนะนำของผู้ผลิต | |
(ช) อุปกรณ์ตรวจจับควัน | อุปกรณ์ตรวจจับควันต้องทดสอบ ณ จุดติดตั้ง โดยใช้ควัน หรือก๊าซ | |
เสมือนควันที่ผู้ผลิตยอมรับ | ||
1.ทุกชนิด | ให้ตรวจสอบค่าความไวของอุปกรณ์ตรวจจับควัน ให้อยู่ในช่วงยอมรับได้ | |
ตามคำแนะนำของผู้ผลิต | ||
2.ชนิดตรวจจับควันในท่อลม | อุปกรณ์ครวจจับควันในท่อลม ให้ทดสอบการไหลของอากาศ | |
(Duct type) | ตามคำแนะนำของผู้ผลิต | |
3.ชนิดลำแสง | การตรวจสอบให้ใช้ก๊าซเสมือนควัน หรือแผ่นกรองแสงไปขวางลำแสง | |
4.อุปกรณ์ตรวจจับควัน และความ | ตรวจสอบแยกแต่ละส่วน ตามวิธีการที่กล่าวแล้ว | |
ร้อนในตัวเดียวกัน | ||
5.อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิด แบบมี | อุปกรณ์ตรวจจับควันชนิดนี้ จะมีสวิตซ์ตัดต่อวงจรการควบคุม เปิด/ปิด อุปกรณ์ | |
สวิตซ์ควบคุมอุปกรณ์ | อื่น เช่น พัดลมดูดควัน ให้ตรวจสอบว่าการทำงานของอุปกรณ์เริ่มสัญญาณอื่น ๆ | |
ในวงจรเดียวกันไม่ทำให้ความสามารถในการควบคุมของอุปกรณ์ตรวจจับควัน | ||
ตัวนี้เปลี่ยนไป | ||
(ญ) อุปกรณ์เริ่มสัญญาณและการตรวจคุม | ||
1.สวิตซ์ควบคุมประตูน้ำดับเพลิง | ให้ตรวจสอบว่า สวิตซ์ต้องเริ่มสัญญาณถ้าหมุนประตูน้ำภายใน 2 รอบ หรือ | |
ประตูน้ำเลื่อนไป 1ใน5 ของระยะทางปกติหรือตามข้อกำหนดจากโรงงานผู้ผลิต | ||
2.สวิตซ์วัดแรงดัน | ตรวจสอบว่า สวิตซ์ต้องเริ่มสัญญาณผิดปกติ ถ้าแรงดันน้ำเพิ่มหรือลดลง | |
10 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว จากแรงดันปกติ | ||
3.สวิตซ์ระดับน้ำ | ตรวจสอบว่า สวิตซ์ต้องเริ่มสัญญาณผิดปกติ ถ้าแรงดันน้ำเปลี่ยนไปจากระดับที่ | |
ตั้งไว้ 75 มม. สำหรับถังความดัน หรือ 300 มม. สำหรับถังปลอดความดัน | ||
(ฎ) สวิตซ์ตรวจการไหล | ตรวจสอบการทำงานของอุปกรณ์เมื่อมีการไหลของน้ำ | |
|
|
|
11 | อุปกรณ์แจ้งเหตุ | |
(ก) เสียง | วัดค่าระดับความดังเสียงในบริเวณป้องกันด้วยเครื่องวัด ซึ่งต้องเป็นไปตามที่ | |
กำหนดในมาตรฐาน | ||
(ข) ลำโพง | วัดค่าระดับความดังเสียงในบริเวณป้องกันด้วยเครื่องวัด ซึ่งต้องเป็นไปตามที่ | |
กำหนดในมาตรฐาน | ||
(ค) แสง | ให้ทดสอบตามคำแนะนำของผู้ผลิต และตรวจสอบตำแหน่งติดตั้ง ให้ตรงกัน | |
แบบที่ได้รับอนุมัติ | ||
12 | บริภัณฑ์สื่อสารฉุกเฉิน | |
(ก) เครื่องขยายเสียง / เครื่องกำเนิดเสียง | ตรวจสอบการทำงานของชุดสำรองและอุปกรณ์ปลดสับให้อยู่ในตำแหน่งที่ | |
(Amplifer / Tone Generator) | ถูกต้อง | |
(ข) สัญญาณเรียกเข้า | ตรวจสอบการทำงานและรับสัญญาณทั้งแสงและเสียงที่เข้ามายังแผงควบคุม | |
(ค) ระบบโทรศัพท์ | ตรวจสอบการทำงานและขั้นตอนการทำงานให้ถูกต้อง ตั้งแต่เครื่องโทรศัพท์ | |
เต้ารับหูฟัง และสัญญาณการทำงาน | ||
(ง) สมรรถนะของระบบ | ทดสอบการสื่อสารระหว่างกันอย่างน้อย 5 หูฟังในเวลาเดียวกัน ตรวจสอบ | |
ความคมชัดของเสียง |
||
13 | บริภัณฑ์เชื่อมต่อสัญญาณ | ตรวจสอบการต่อของบริภัณฑ์เชื่อมโยง โดยทดสอบการทำงานจริงหรือโดย |
การจำลองสัญญาณรับส่งระหว่างกัน |
-
-
บริการตรวจสอบป้าย โดยข้อกฎหมายและมาตรฐานที่ใช้ตรวจสอบเกณฑ์การตรวจสอบป้าย เกณฑ์การตรวจสอบอาคาร ตามกฎหมายตรวจสอบอาคาร ปี พ.ศ. 2555 ประเภทการตรวจสอบใหญ่ประเภท ป้าย ความสูงจากพื้นดินต...
-
ขั้นตอนการบำรุงรักษาระบบไฟฟ้า ถ่ายภาพความร้อนด้วยเครื่องThermo Scan ตรวจเช็คกระแสไฟฟ้าตกค้างด้วย Voltage detector ...
- ให้บริการเขียนแบบแผนเพื่อการตรวจสอบอาคาร จัดทำแผนผังวงจรการจ่ายไฟฟ้า (Singleline Diagram) ระบบไฟฟ้าโรงงานอุตสาหกรรม ตามกฎกระทรวงไฟฟ้า ปี2558 กระทรวงแรงงานโดยทีมงานวิศวกรมืออาชีพ ...